ปีที่สร้าง: พ.ศ. 2522
ความเป็นมา : ในปี พ.ศ.๒๕๒๒ ท่านพระครูวิโรจน์ฯ ได้จัดสร้างพระปิดตาขึ้นอีก ๒ พิมพ์ คือ พระปิดตาลายกนกข้าง และพระปิดตาหลังยันต์นะทะนะ ซึ่งหลวงปู่ได้ปลุกเสกพร้อมกับพระชัยวัฒน์ปวเรศ และพระสังกัจจายน์องค์ลอย เนื้อนวโลหะ
ในระหว่างการปลุกเสกนั้น ได้เกิดไฟไหม้ที่หน้าโต๊ะหมู่บูชา สาเหตุมาจากเทียนบูชาพระ เมื่อไฟลามถึงกล่องที่บรรจุพระ ไฟเกิดหมอดดับไปเองนับว่าปฎิหาริย์ สร้างมหัศจรรย์ให้แก่ผู้พบเห็น และต่างกล่าวขวัญถึงความศักดิ์สิทธิ์ของพระเครื่องชุดนี้
ลักษณะ : โดยรวมรูปร่างโค้งมนคล้ายรูปไข่ เนื้อผงใบลาน จะมีเม็ดมวลสาร ไม่ได้เป็นสีเทาดำล้วนๆ
ด้านหน้าพระปิดตารุ่นนี้มีลักษณะอวบอ้วนคล้ายพระสังกัจจายน์เข้าฌานสมาบัติ ทั้งสองข้างขององค์พระพิมพ์ลายกนก ลายนูนคมชัดเส้นไรพระศกที่หน้าผากเป็นเส้นนูนชัดเจนติ่งหูยาวลงมาเกยไหล่ ใบหูชัดเจนเข่าอวบใหญ่
ด้านหลัง
ด้านหลังเป็นยันต์ตรี
ด้านหลังขอบมีเนื้อปลิ้น
ด้านหลังพิมพ์อักขระชัดเจน
จำนวนสร้าง:
๑. เนื้อผงเกสร
๑.๑) ไม่บรรจุตระกรุด จำนวนสร้าง ๑,๕๐๐ องค์
๑.๒) พิมพ์กรรมการพิเศษ บรรจุตะกรุดทองคำและเงิน
อย่างละ ๑ ดอก จำนวนสร้าง ๕ องค์
๒. เนื้อผงใบลาน
๒.๑) บรรจุตระกรุดเดี่ยว จำนวน ประมาณ ๖,๐๐๐ องค์
๒.๒) บรรจุตระกรุดคู่ จำนวน ไม่เกิน ๔,๐๐๐ องค์
๒.๓) พิมพ์กรรมการ บรรจุตะกรุดทองคำคู่ จำนวน ๔๐ องค์
๒.๔) พิมพ์กรรมการพิเศษ บรรจุตะกรุดทองคำและเงิน
อย่างละ ๑ ดอก จำนวน ๑๐๐ องค์
พุทธคุณ : แคล้วคลาด, เมตตามหานิยม
จุดสังเกตุที่ 1
-พระแท้นิ้วต้องชัดเจน เป็นลำยาวตรง ดูสวยงาม
-พระแท้เส้นคาดระหว่างหน้าผาก กับเม็ดพระศกเป็นเส้น
นูนสวยงาม ลายกนก คมชัด เจน
จุดสังเกตุที่ 2
-พระแท้ กำไรข้อเท้า นิ้วเท้า จะเห็นเป็นนี้วเท้า
-ส่วนของเก๊ จะไม่เห็นเป็นนี้วเท้า จะเบลอๆ ไม่ชัด
จุดสังเกตุที่ 3-4
-พระแท้ ตัวหนังสือ ยันต์ จะคมชัด ลึก
-ส่วนของเก๊ จะเบลอๆ ไม่ชัด
Cr. วิท-พระยาสุเรนทร์
ความเป็นมา : ในปี พ.ศ.๒๕๒๒ ท่านพระครูวิโรจน์ฯ ได้จัดสร้างพระปิดตาขึ้นอีก ๒ พิมพ์ คือ พระปิดตาลายกนกข้าง และพระปิดตาหลังยันต์นะทะนะ ซึ่งหลวงปู่ได้ปลุกเสกพร้อมกับพระชัยวัฒน์ปวเรศ และพระสังกัจจายน์องค์ลอย เนื้อนวโลหะ
ในระหว่างการปลุกเสกนั้น ได้เกิดไฟไหม้ที่หน้าโต๊ะหมู่บูชา สาเหตุมาจากเทียนบูชาพระ เมื่อไฟลามถึงกล่องที่บรรจุพระ ไฟเกิดหมอดดับไปเองนับว่าปฎิหาริย์ สร้างมหัศจรรย์ให้แก่ผู้พบเห็น และต่างกล่าวขวัญถึงความศักดิ์สิทธิ์ของพระเครื่องชุดนี้
ลักษณะ : โดยรวมรูปร่างโค้งมนคล้ายรูปไข่ เนื้อผงใบลาน จะมีเม็ดมวลสาร ไม่ได้เป็นสีเทาดำล้วนๆ
ด้านหน้าพระปิดตารุ่นนี้มีลักษณะอวบอ้วนคล้ายพระสังกัจจายน์เข้าฌานสมาบัติ ทั้งสองข้างขององค์พระพิมพ์ลายกนก ลายนูนคมชัดเส้นไรพระศกที่หน้าผากเป็นเส้นนูนชัดเจนติ่งหูยาวลงมาเกยไหล่ ใบหูชัดเจนเข่าอวบใหญ่
ด้านหลัง
ด้านหลังเป็นยันต์ตรี
ด้านหลังขอบมีเนื้อปลิ้น
ด้านหลังพิมพ์อักขระชัดเจน
จำนวนสร้าง:
๑. เนื้อผงเกสร
๑.๑) ไม่บรรจุตระกรุด จำนวนสร้าง ๑,๕๐๐ องค์
๑.๒) พิมพ์กรรมการพิเศษ บรรจุตะกรุดทองคำและเงิน
อย่างละ ๑ ดอก จำนวนสร้าง ๕ องค์
๒. เนื้อผงใบลาน
๒.๑) บรรจุตระกรุดเดี่ยว จำนวน ประมาณ ๖,๐๐๐ องค์
๒.๒) บรรจุตระกรุดคู่ จำนวน ไม่เกิน ๔,๐๐๐ องค์
๒.๓) พิมพ์กรรมการ บรรจุตะกรุดทองคำคู่ จำนวน ๔๐ องค์
๒.๔) พิมพ์กรรมการพิเศษ บรรจุตะกรุดทองคำและเงิน
อย่างละ ๑ ดอก จำนวน ๑๐๐ องค์
พุทธคุณ : แคล้วคลาด, เมตตามหานิยม
จุดสังเกตุที่ 1
-พระแท้นิ้วต้องชัดเจน เป็นลำยาวตรง ดูสวยงาม
-พระแท้เส้นคาดระหว่างหน้าผาก กับเม็ดพระศกเป็นเส้น
นูนสวยงาม ลายกนก คมชัด เจน
จุดสังเกตุที่ 2
-พระแท้ กำไรข้อเท้า นิ้วเท้า จะเห็นเป็นนี้วเท้า
-ส่วนของเก๊ จะไม่เห็นเป็นนี้วเท้า จะเบลอๆ ไม่ชัด
จุดสังเกตุที่ 3-4
-พระแท้ ตัวหนังสือ ยันต์ จะคมชัด ลึก
-ส่วนของเก๊ จะเบลอๆ ไม่ชัด
Cr. วิท-พระยาสุเรนทร์